วันศุกร์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 16

ครั้งที่ 16 วันอังคารที่ 25  กันยายน พ.ศ. 2555

อาจารย์ให้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแท็บเล็ตที่ใช้กับเด็กประถมและเด็กปฐมวัย

แท็บเล็ตถือว่าเป็นสื่ออย่างหนึ่งที่ทำให้เกิดการเรียนรู้

การที่จะทำให้สื่อ (แท็บเล็ต) นั้นมีประโยชน์นั้นขึ้นอยู่กับตัวเรา (ครู)

เราไม่สามรถนำมาใช้กับเด็กอนุบาลได้ทั้งหมด เพราะเด็กเรียนรู้ผ่านการเล่น โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 อย่างอิสระ สามารถเลือกและตัดสินใจได้ด้วยตนเอง

แท็บเล็ต > เป็นจริง
            > เป็นสื่อ 3 มิติ        > > > เป็นสื่อสำหรับเด็ก
            > จีบต้องได้

วิธีการเรียนรู้

1.การวิเคราะห์

2.การบรรยาย

3.ลงมือปฏิบัติจริง

4.ค้นคว้าเพิ่มเติม

5.การสรุปความคิด

6.การมอบหมายงาน มีการวางแผน

7.การระดมความคิด / การมีส่วนร่วม

8.กระบวนการแก้ปัญหา

9.การสังเกตและการทดลอง


สรุปวิดีโอ : โทรทัศน์ครู

 เรื่อง ของเล่นและของใช้ คุณครูสุวรรณา ชโลวัฒนะ รร.บ้านเหมืองแร่

http://www.thaiteachers.tv/vdo2.php?id=3429

            คุณครูสุวรรณา  ชโลวัฒนะ โรงเรียนบ้านเหมืองแร่  จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สอนให้เด็กจัดเก็บของเล่นและของใช้ออกจากกัน โดยยึดหลักกระบวนการให้เด็กได้จดจำ และสังเกตแยกแยะของเล่น  ของใช้ที่มีประโยชน์ผ่านการเคลื่อนไหวทางร่างกายและการสัมผัส
          - การสร้างแรงจูงใจ คุณครูใช้นิทาน นำเอาอุปกรณ์ สิ่งของต่างๆมาใช้เป็นตัวละครในเรื่อง และนำสิ่งของเหล่านั้นไปซ่อนในที่ต่างๆภายในห้องเรียน แล้วให้เด็กๆช่วยกันหาและช่วยกันแยกของเล่นกับของใช้
          - รู้แล้วต้องต่อยอดได้ ให้เด็กๆรู้จักนำเศษวัสดุเหลือใช้มาประดิษฐ์เป็นสิ่งของต่างๆ ทำให้เศษวัสดุกลายเป็นของเล่นหรือของใช้

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 15

ครั้งที่ 15 วันอังคารที่ 18 กันยายน 2555

จัดกิจกรรมทีโรงเรียนสาธิต

  1.ฐานขนมปังปิ้ง

  2.ฐานขนมต้ม

  3.ฐานลูกโป่ง

  4.ฐานการเดินทางของเสียง

  5.ฐานระดับน้ำมีผลต่อการเดินทางของเสียง

  6.ฐานแม่เหล็กหรรษา

  7ฐานแม่เหล็กมหาสนุก

  8.ฐานลูกข่างหรรษษา

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 14

ครั้งที่ 14 วันอังคารที่ 11 กันยายน  พ.ศ. 2555

นำเสนอกิจกรรม ลูกโป่งหรรษา




 หลักการ
              อนุภาคของอากาศจะอยู่ใกล้ชิดกันมากกว่าอนุภาคของอากาศภายนอก
อากาศที่มีอนุภาคใกล้ชิดกันมากจะเป็นตัวกลางที่ดีในการให้เสียงเดินทางผ่าน

อุปกรณ์
1.ลูกโป่ง   2.กระดาษ
3.ยางรัด    4.เชือก
5.ไม้บรรทัด

ขั้นตอนการทำ
1.เป่าลูกโป่งให้พองเต็มที่
2.ใช้เชือกวัดขนาดของลูกโป่งว่ากว้างเท่าไร
3.ให้เพื่อนถือกระดาษห่างจากหูเท่ากับความกว้างของลูกโป่ง
4.แล้วใช้นิ้วเคาะกระดาษ สังเกตการได้ยิน
5.นำลูกโป่งแนบหูแล้วให้เพื่อนนำกระดาษแทรกระหว่างลูกโป่ง
   และมือที่จับ 
6.เคาะเบาๆที่กระดาษสังเกตเสียง

วันอาทิตย์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13

ครั้งที่ 13 วันอังคารที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2555

แต่ละกลุ่มส่งบอร์ดอาจารย์




นำเสนอกิจกรรม (ลูกโป่งหรรษา)


หลักการ

อนุภาคของอากาศจะอยู่ใกล้ชิดกันมากกว่าอนุภาคของอากาศภายนอก อากาศที่มีอนุภาคใกล้ชิดกันมากจะเป็นตัวกลางที่ดีในการให้เสียงเดินทางผ่าน

อุปกรณ์

1.ลูกโป่ง                    2.กระดาษ

3.ยางรัด                     4.เชือก

5.ไม้บรรทัด

ขั้นตอนการทำ

1.เป่าลูกโป่งให้พองเต็มที่

2. ใช้เชือกวัดขนาดของลูกโป่งว่ามีขนาดเท่าไร

3. ให้เพื่อนถือกระดาษห่างจากหูเท่ากับความกว้างของลูกโป่ง

4. ใช้นิ้วเคาะกระดาษ สังเกตการได้ยิน

5. นำลูกโป่งแนบหูแล้วให้เพื่อนนำกระดาษแทรกระหว่างลูกโป่งและมือที่จับ

6. เคาะเบาๆที่กระดาษสังเกตเสียง




บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12

ครั้งที่ 12  วันอังคารที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2555

จัดบอร์ดกลุ่ม 3 คน

รายชื่อสามชิก ดังนี้

1.น.ส. พีรญา  แสงนาค

2.น.ส.ปรียาภรณ์  คงแก้ว

3.น.ส.วรรณธิดา  รัตนเมธีวรกุล



บันทึกการเข้าอบรม 2 วัน

อบรมเชิงปฏิบัติการ " การสร้างสื่อประยุกต์ "




การประดิษฐ์ดอกไม้และการเข้าช่อ







ผลงานที่ประดิษฐ์

งานเดี่ยว

งานกลุ่ม





บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11

ครั้งที่ 11 วันอังคารที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2555

อาจารย์ให้จับกลุ่ม 4 คน

- ให้สนทนาเกี่ยวกับหนังสือที่อาจารย์แจก

สรุปเป็น Mind map ดังนี้

 


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10

ครั้งที่ 10 วันอังคารที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2555

ไม่มีการเรียนการสอน

*หมายเหตุ  มีการเรียนการสอนชดเชยในวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2555


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 9

ครั้งที่ 9  วันอังคารที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2555

ไม่มีการเรียนการสอน

*หมายเหตุ สอนชดเชยในวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 8

ครั้งที่ 8 วันอังคารที่ 31 กรกฏาคม พ.ศ. 2555

ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากมีการสอบกลางภาค


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 7




ครั้งที่ 7 วันอังคารที่ 24 กรกฏาคม พ.ศ. 2555

วิทยาศาสตร์ คือ สิ่งที่ที่อยู่รอบตัวเรา

ประโยชน์

- ประสบกาณ์ตรง

- เกิดความสนุกสนาน

- ตื่นเต้น

- มีอิสระ

- ได้ความรู้

- เกิดความสงสัย

- มีคำถาม

- แสวงหา / ใฝ่รู้



 

 


 

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 6

ครั้งที่ 6 วันอังคารที่ 17 กรกฏาคม พ.ศ. 2555

อาจารย์ให้นำเสนองาน (ต่อ)

การเล่น

- การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

- การเล่นทำให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง

- การเล่นทำให้เด็กได้เกิดทักษะด้านต่างๆ


งานที่ได้รับหมอบหมาย

หัวข้อที่ได้รับ "ภูมิใจในความเป็นไทย"





* การจัดประสบการณ์โดยการจำแนกสำหรับเด็กจะต้องใช้เกณฑ์เพียง 1 เกณฑ์เท่านั้น
 

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 5

ครั้งที่ 5  วันอังคารที่ 10 กรกฏาคม พ.ศ. 2555

นำเสนองานของเล่นวิทยาศาสตร์

ชื่อกิจกรรม เลี้ยงลูกด้วยลม


อุปกรณ์    


วิธีการทำ

1.นำหลอดกาแฟมาตัดให้เป็นแฉกๆ ใช้นิ้วกดให้แฉกบานออกแล้วพับให้ด้านที่เป็นแฉกง้อขึ้น


 2.นำแผ่นฟอยล์อลูมิเนียมมาปั้นเป็นวงกลม




 3.นำลูกบอลที่ทำจากแผ่นฟอยล์อลูมิเนียมมาวางบนหลอดแล้วเป่า





ชื่อกิจกรรม ปืนยิงบอล




อุปกรณ์  1.ขวดพลาสติก ขนาดเล็ก1 ใบ ขนาดใหญ่ 1 ใบ ล้างให้สะอาด
               2.ยางยืดเส้นวงกลม
               3.เชือก
               4.คัตเตอร์
               5.ตะปู
               6.ลูกปิงปอง

วิธีทำ
1.นำขวดน้ำทั้ง 2 ใบมาตัดออกด้วยคัตเตอร์และใช้ตะปูขยายขนาดรูตามภาพ


 2.นำขวดน้ำทั้ง 2 ใบมาเจาะรูแล้วร้อยเชือกโดยให้ขวดใบเล็กอยู่ในขวดใบใหญ่






 3.นำยางยืดมาร้อยกับขวด โดยพันเชือกไว้รอบนอกขวดเพื่อยึดยางยืด





 4.บรรจุกระสุน (ลูกปิงปอง) พร้อมยิง





วันเสาร์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกผลการเรียนรู้ครั้งที่ 4

ครั้งที่ 4 วันอังคารที่ 3 กรกฏาคม พ.ศ. 2555

อาจารณ์ให้ดู VDO เรื่องมหัศจรรย์ของน้ำ

     -สิ่งต่างในโลกนี้มีน้ำเป็นส่วนประกอบ

     - ร่างกายคนเราขาดน้ำไม่ได้จะทำให้ร่างกายอ่อนเพลีย
     - น้ำมีสถาน 3 สถานะ คือ
        1.ของแข็ง  
        2.ของเหลว  
        3.ก๊าส
     -น้ำจะระเหยเมื่อได้รับความร้อน

*งานที่ได้รับมอบหมาย
    1.ทำสื่อที่เป็นวิทยาศาสตร์ (ที่เป็นของเล่น)
    2.ทำสื่อวิทยาศาสตร์ที่สอนให้เด็กทำ

วันเสาร์ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 3

ครั้งที่ 3 วันอังคารที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2555

* เครื่องมือการเรียนรู้ = ภาษา + คณิต

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

1. พัฒนาการ มี 3 ปี , 4 ปี , 5 ปี

2. กระบวนการ
    2.1 กระบวนการเบื้องต้น   > สังเกต (ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5)
                                      > การวัด (หาปริมาณ)
                                      > จำแนกประเภท (ต้องหาเกณฑ์)
                                      > หาความสัมพันธ์มิติกับเวลา
                                      > การสื่อความหมาย
                                      > การคำนวน
                                      > พยาการณ์

    2.2 กระบวนการแบบผสม > ตั้งสมมติฐาน
                                      > กำหนดเชิงปฏิบัติการณ์
                                      > การกำหนดและควบคุมตัวแปร
                                      > ทดลอง
                                      > สรุป

3. วิธีการจัด
    3.1 เป็นทางการ  > รูปแบบการสอน (โครงการวิทย์)
                           > มีจุดหมาย

    3.2 ไม่เป็นทางการ > มุมวิทยาศาสตร์
                             > สภาพแวดล้อมที่ครูเตรียม
   
    3.3 จัดแบบตามเหตุการณ์ > ธรรมชาติ
                                      > สิ่งที่พบเห็น

4. การใช้สื่อ  > เลือกให้เหมาะสมกับสถานที่ , เนื้อหา , วิธีการเรียนรู้ , พัฒนาการ
                  > เตรียมสื่อ
                  > การใช้
                  > ประเมิน


วันอาทิตย์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2555

พัฒนาการทางด้านสติปัญญาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์

งานที่ได้รับมอบหมาย

พัฒนาการทางด้านสติปัญญาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ของเด็กอายุ 3 ปี

1) สำรวจสิ่งต่างๆที่เหมือนกันและต่างกันได้

2) อยากรู้อยากเห็นทุกอย่างรอบตัว

3) รู้จักใช้คำถาม " อะไร "

4) จำแนกสิ่งต่างๆด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้

5) ฟังแล้วปฏิบัติตามคำสั่งง่ายๆำได้

6) เรียนรู้จากการสังเกต

7) สนใจค้นคว้า สำรวจสิ่งต่างๆ

8) สังเกตและเปรียบเทียบฤดูกาลต่างๆได้

9) สนทนาโต้ตอบเกี่ยวกับลักษณะของวัตถุ สิ่งของต่างๆด้วยประโยคสั้นๆได้

วันเสาร์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู็ครั้งที่ 2

ครั้งที่ 2  วันอังคารที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2555



* การเรียนรู้ไม่ว่าเรื่องใดต้องเรียนให้ได้เนื้อหาและทักษะ


* วิทยาศาสตร์ คือ ทุกสิ่งอย่างที่อยู่รอบตัวเรา


การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

1) เด็กปฐมวัย  1.1) พัฒนาการ > สติปัญญา 1.ความคิด > เชิงเหตุผล
                                                                         > สร้างสรรค์
                                                 
                                                           2. ภาษา > เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้

                    1.2) วิธีการเรียนรู้ > ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 กระทำกับวัตถุ

2) การจัดประสบการณ์ > หลักการจัดประสบการณ์
                              > ทฤษฏี
                              > กระบวนการจัดประสบการณ์
                              > เทคนิควิธี
                              > สื่อ/จัดสภาพแวดล้อมสนับสนุนการจัดประสบการณ์
                              > วิธีการประเมินผล

3) วิทยาศาสตร์ > ทักษะทางวิทยาศาสตร์ > ทักษะกระบวนการขั้นพื้นฐาน
                                                       > ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นผสม

                     > สาระวิทยาศาสตร์ > หลักสูตรวิทยาศาสตร์
                                                    - บุคคุล
                                                    - สถานที่
                                                    - เรื่องราวที่เกี่ยวกับตัวเด็ก
                                                    - ธรรมชาติรอบตัว


* หมายเหตุ   อาจารย์สั่งงานดังนี้
 1) ดูพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก อายุ 3 ปี ที่เกี่ยวกับวิทยาศาตร์ (โพสขึ้นบล็อก)
 2) จับกลุ่ม 3-4 คน เลือกหัวข้อและเนื้อหาที่จะนำมาใช้ใน 5 วัน (ใส่ A4)
                
             
                     






บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1

ครั้งที่ 1 วันอังคารที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555 

งานที่ได้รับมอบหมายมี ดังนี้
 
1) ทำบล็อควิทยาศาสตร์ 
2) ลิ้งค์มาตรฐานวิทยาศาสตร์ของ สสวท.
3) ลิ้งค์รายชื่อเพื่อนในบล็อค 
4) ดูโทรทัศน์ครูเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (เรื่องนึงซ้ำได้ไม่เกิน 3 คน)