วันศุกร์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 16

ครั้งที่ 16 วันอังคารที่ 25  กันยายน พ.ศ. 2555

อาจารย์ให้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแท็บเล็ตที่ใช้กับเด็กประถมและเด็กปฐมวัย

แท็บเล็ตถือว่าเป็นสื่ออย่างหนึ่งที่ทำให้เกิดการเรียนรู้

การที่จะทำให้สื่อ (แท็บเล็ต) นั้นมีประโยชน์นั้นขึ้นอยู่กับตัวเรา (ครู)

เราไม่สามรถนำมาใช้กับเด็กอนุบาลได้ทั้งหมด เพราะเด็กเรียนรู้ผ่านการเล่น โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 อย่างอิสระ สามารถเลือกและตัดสินใจได้ด้วยตนเอง

แท็บเล็ต > เป็นจริง
            > เป็นสื่อ 3 มิติ        > > > เป็นสื่อสำหรับเด็ก
            > จีบต้องได้

วิธีการเรียนรู้

1.การวิเคราะห์

2.การบรรยาย

3.ลงมือปฏิบัติจริง

4.ค้นคว้าเพิ่มเติม

5.การสรุปความคิด

6.การมอบหมายงาน มีการวางแผน

7.การระดมความคิด / การมีส่วนร่วม

8.กระบวนการแก้ปัญหา

9.การสังเกตและการทดลอง


สรุปวิดีโอ : โทรทัศน์ครู

 เรื่อง ของเล่นและของใช้ คุณครูสุวรรณา ชโลวัฒนะ รร.บ้านเหมืองแร่

http://www.thaiteachers.tv/vdo2.php?id=3429

            คุณครูสุวรรณา  ชโลวัฒนะ โรงเรียนบ้านเหมืองแร่  จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สอนให้เด็กจัดเก็บของเล่นและของใช้ออกจากกัน โดยยึดหลักกระบวนการให้เด็กได้จดจำ และสังเกตแยกแยะของเล่น  ของใช้ที่มีประโยชน์ผ่านการเคลื่อนไหวทางร่างกายและการสัมผัส
          - การสร้างแรงจูงใจ คุณครูใช้นิทาน นำเอาอุปกรณ์ สิ่งของต่างๆมาใช้เป็นตัวละครในเรื่อง และนำสิ่งของเหล่านั้นไปซ่อนในที่ต่างๆภายในห้องเรียน แล้วให้เด็กๆช่วยกันหาและช่วยกันแยกของเล่นกับของใช้
          - รู้แล้วต้องต่อยอดได้ ให้เด็กๆรู้จักนำเศษวัสดุเหลือใช้มาประดิษฐ์เป็นสิ่งของต่างๆ ทำให้เศษวัสดุกลายเป็นของเล่นหรือของใช้

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 15

ครั้งที่ 15 วันอังคารที่ 18 กันยายน 2555

จัดกิจกรรมทีโรงเรียนสาธิต

  1.ฐานขนมปังปิ้ง

  2.ฐานขนมต้ม

  3.ฐานลูกโป่ง

  4.ฐานการเดินทางของเสียง

  5.ฐานระดับน้ำมีผลต่อการเดินทางของเสียง

  6.ฐานแม่เหล็กหรรษา

  7ฐานแม่เหล็กมหาสนุก

  8.ฐานลูกข่างหรรษษา

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 14

ครั้งที่ 14 วันอังคารที่ 11 กันยายน  พ.ศ. 2555

นำเสนอกิจกรรม ลูกโป่งหรรษา




 หลักการ
              อนุภาคของอากาศจะอยู่ใกล้ชิดกันมากกว่าอนุภาคของอากาศภายนอก
อากาศที่มีอนุภาคใกล้ชิดกันมากจะเป็นตัวกลางที่ดีในการให้เสียงเดินทางผ่าน

อุปกรณ์
1.ลูกโป่ง   2.กระดาษ
3.ยางรัด    4.เชือก
5.ไม้บรรทัด

ขั้นตอนการทำ
1.เป่าลูกโป่งให้พองเต็มที่
2.ใช้เชือกวัดขนาดของลูกโป่งว่ากว้างเท่าไร
3.ให้เพื่อนถือกระดาษห่างจากหูเท่ากับความกว้างของลูกโป่ง
4.แล้วใช้นิ้วเคาะกระดาษ สังเกตการได้ยิน
5.นำลูกโป่งแนบหูแล้วให้เพื่อนนำกระดาษแทรกระหว่างลูกโป่ง
   และมือที่จับ 
6.เคาะเบาๆที่กระดาษสังเกตเสียง

วันอาทิตย์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13

ครั้งที่ 13 วันอังคารที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2555

แต่ละกลุ่มส่งบอร์ดอาจารย์




นำเสนอกิจกรรม (ลูกโป่งหรรษา)


หลักการ

อนุภาคของอากาศจะอยู่ใกล้ชิดกันมากกว่าอนุภาคของอากาศภายนอก อากาศที่มีอนุภาคใกล้ชิดกันมากจะเป็นตัวกลางที่ดีในการให้เสียงเดินทางผ่าน

อุปกรณ์

1.ลูกโป่ง                    2.กระดาษ

3.ยางรัด                     4.เชือก

5.ไม้บรรทัด

ขั้นตอนการทำ

1.เป่าลูกโป่งให้พองเต็มที่

2. ใช้เชือกวัดขนาดของลูกโป่งว่ามีขนาดเท่าไร

3. ให้เพื่อนถือกระดาษห่างจากหูเท่ากับความกว้างของลูกโป่ง

4. ใช้นิ้วเคาะกระดาษ สังเกตการได้ยิน

5. นำลูกโป่งแนบหูแล้วให้เพื่อนนำกระดาษแทรกระหว่างลูกโป่งและมือที่จับ

6. เคาะเบาๆที่กระดาษสังเกตเสียง




บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12

ครั้งที่ 12  วันอังคารที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2555

จัดบอร์ดกลุ่ม 3 คน

รายชื่อสามชิก ดังนี้

1.น.ส. พีรญา  แสงนาค

2.น.ส.ปรียาภรณ์  คงแก้ว

3.น.ส.วรรณธิดา  รัตนเมธีวรกุล



บันทึกการเข้าอบรม 2 วัน

อบรมเชิงปฏิบัติการ " การสร้างสื่อประยุกต์ "




การประดิษฐ์ดอกไม้และการเข้าช่อ







ผลงานที่ประดิษฐ์

งานเดี่ยว

งานกลุ่ม





บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11

ครั้งที่ 11 วันอังคารที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2555

อาจารย์ให้จับกลุ่ม 4 คน

- ให้สนทนาเกี่ยวกับหนังสือที่อาจารย์แจก

สรุปเป็น Mind map ดังนี้